ผนึกกำลังภาครัฐ เอกชน เตรียมอบรมใช้พาราควอตและไกลโฟเซตให้กับโรงงานอ้อยทั่วประเทศ
สมาคมนักวิชาการอ้อยและน้ำตาลฯ ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ผนึกกำลังภาครัฐ เอกชน เตรียมอบรมใช้พาราควอตและไกลโฟเซตให้กับโรงงานอ้อยทั่วประเทศ
สมาคมนักวิชาการอ้อยและน้ำตาลฯ ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย ผนึกกำลังภาครัฐ เอกชน เตรียมอบรมใช้พาราควอตและไกลโฟเซตให้กับโรงงานอ้อยทั่วประเทศ
เกษตรกรกลุ่มยางพารา ไม่เห็นด้วยกับมาตรการประกันราคายาง แถมสูตรคำนวณต้นทุนสวนทางกับความเป็นจริง วอนขอให้ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นางสาวมนัญญา ไทยเศรษฐ์ หยุดปั่นกระแส 3 สาร หนุนนายทุน สร้างภาระและความยากจนให้เกษตรกร
สมาพันธ์ชาวสวนปาล์มน้ำมันแห่งประเทศไทย สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย และเครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง กลุ่มโครงการราชบุรีประชารัฐ พืชผักและผลไม้ปลอดภัย ทวงสัญญานโยบายพรรคภูมิใจไทย “ทวงคืนกำไรให้เกษตรกร” หลังรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกนโยบายฝันหวาน-โลกสวย เรื่องสารเคมี
กลุ่มเกษตรกร ยื่นข้อเสนอ นโยบายรัฐบาลชุดใหม่ ยึดเกษตรกรเป็นหลัก ลดเอื้อกลุ่มทุน พยุงราคาสินค้า ลดต้นทุนการผลิต
เกษตรกรกลุ่มอ้อย ยางพารา มันสำปะหลัง ประสบปัญหาหนัก ราคาตกต่ำต่อเนื่อง ภัยแล้ง ต้นทุนการผลิตพุ่ง แถมซ้ำเติมด้วยมาตรการจำกัดการใช้ 3 สารเคมีกำจัดศัตรูพืช วอนขอให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน ดำเนินการอย่างจริงจัง หันมาช่วยเหลือเกษตรกร หยุดนโยบายประชานิยม
เกษตรกร 3 หมื่นราย ขอบคุณ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงสาธารณสุข สำหรับมติคณะกรรมการวัตถุอันตรายเห็นชอบมาตรการจำกัดการใช้วัตถุอันตราย พาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไพรีฟอส จนกว่าจะมีสารทดแทนหรือนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลที่ดีกว่า และไม่สร้างความเดือดร้อนให้เกษตรกร
นักวิชาการ นักวิจัย และเกษตรกร เผยหลักฐาน สารชีวภัณฑ์กำจัดวัชพืช ไม่ได้เป็นสารธรรมชาติ ย้ำข้อเท็จจริง ไม่มีแนวทางใดสามารถแก้ไขปัญหาวัชพืชในภาคอุตสาหกรรมการเกษตรได้ การใช้สาร พาราควอต ยังคงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
กลุ่มผู้รวบรวมข้าวโพดหวานอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ยื่นหนังสือต่อ คณะกรรมการวัตถุอันตราย ร้องเกิดความเสียหายขึ้นทันทีหากยกเลิกใช้ สารพาราควอต มูลค่าสูง 1.3 หมื่นล้านบาท
การเพาะปลูกอ้อยของไทย มีพื้นที่รวมกว่า 11 ล้านไร่ สร้างรายได้สูงเกือบ 3 แสนล้านบาทต่อปี หากมีการยกเลิกใช้สารพาราควอต คิดเป็นมูลค่าความเสียหายสูงถึง 60,000 ล้านบาท เนื่องจาก เกษตรกรชาวไร่อ้อยไม่สามารถผลิตอ้อยส่งได้ตามเป้าหมาย กระทบเป็นห่วงโซ่ในสายการผลิต ส่งผลถึงโรงงานน้ำตาล ขาดวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น กระทบต่อเนื่องไปยังอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายดิบ สุดท้าย ผลเลวร้ายที่สุด อาจเกิดการปิดตัวของโรงงานน้ำตาล ผลจากเหตุขาดทุนได้
หลังจากที่สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้แสดงความคิดเห็นต่อการยกเลิกใช้สารพาราควอต ซึ่งขัดแย้งกับ มติคณะกรรมการวัตถุอันตรายที่ให้จำกัดการใช้ โดยให้สามารถใช้ได้ ภายใต้การควบคุมอย่างเหมาะสมนั้น ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมเกษตรไปในหลายพืชเศรษฐกิจ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง โดยเฉพาะ อ้อย ซึ่งปัจจุบัน มีราคาตกต่ำ และเกษตรกรขาดทุนอย่างต่อเนื่อง ภาคอุตสาหกรรมอ้อย จึงอยากให้ยืนยันมติเดิม ให้ใช้พาราควอต ต่อไป แต่จำกัดการใช้และมีมาตรควบคุมการใช้อย่างเหมาะสม
หลังจากมีข่าวพาราควอตส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มกสิกรผู้ใช้พาราควอต แพทย์และนักวิชาการซึ่งมีทั้งผู้สนับสนุนและค้านการใช้พาราควอตในเกษตรกรรม ได้รวมกลุ่มกันแลกเปลี่ยนข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเท็จจริงและจัดเสวนา “สนทนาพาราควอต” ขึ้น ได้ข้อสรุป “พาราควอต” เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรรมไทย ไม่ควรเลิกใช้ หากใช้ถูกต้อง ก็ไม่เกิดโทษเช่นเดียวกับสารพิษที่แพทย์นำไปบำบัดโรคและรักษาผู้ป่วย
สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย เครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง และกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ผลไม้ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย กว่า 100 ราย ยื่นหนังสือขอบคุณ นายพสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ประธานคณะกรรมการวัตถุอันตราย หลังจากมีมติ ไม่แบนการใช้ 3 สารเคมี พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต แต่ให้จำกัดการใช้แทน