ประเด็นสารเคมีในไทย กระทบอุตสาหกรรมอ้อย คาดโรงงานน้ำตาลปิดตัว

การเพาะปลูกอ้อยของไทย มีพื้นที่รวมกว่า 11 ล้านไร่ สร้างรายได้สูงเกือบ 3 แสนล้านบาทต่อปี หากมีการยกเลิกใช้สารพาราควอต คิดเป็นมูลค่าความเสียหายสูงถึง 60,000 ล้านบาท เนื่องจาก เกษตรกรชาวไร่อ้อยไม่สามารถผลิตอ้อยส่งได้ตามเป้าหมาย กระทบเป็นห่วงโซ่ในสายการผลิต ส่งผลถึงโรงงานน้ำตาล ขาดวัตถุดิบ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น กระทบต่อเนื่องไปยังอุตสาหกรรมน้ำตาลทรายดิบ สุดท้าย ผลเลวร้ายที่สุด อาจเกิดการปิดตัวของโรงงานน้ำตาล ผลจากเหตุขาดทุนได้

ภาคอุตสาหกรรมอ้อย แนะแนวทางจัดการใช้ สารพาราควอต

หลังจากที่สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้แสดงความคิดเห็นต่อการยกเลิกใช้สารพาราควอต ซึ่งขัดแย้งกับ มติคณะกรรมการวัตถุอันตรายที่ให้จำกัดการใช้ โดยให้สามารถใช้ได้ ภายใต้การควบคุมอย่างเหมาะสมนั้น ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมเกษตรไปในหลายพืชเศรษฐกิจ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง โดยเฉพาะ อ้อย ซึ่งปัจจุบัน มีราคาตกต่ำ และเกษตรกรขาดทุนอย่างต่อเนื่อง ภาคอุตสาหกรรมอ้อย จึงอยากให้ยืนยันมติเดิม ให้ใช้พาราควอต ต่อไป แต่จำกัดการใช้และมีมาตรควบคุมการใช้อย่างเหมาะสม

กลุ่มแพทย์ นักวิชาการ ชี้ชัด พาราควอตเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรรมไทย ไม่ควรแบน

หลังจากมีข่าวพาราควอตส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในกลุ่มกสิกรผู้ใช้พาราควอต แพทย์และนักวิชาการซึ่งมีทั้งผู้สนับสนุนและค้านการใช้พาราควอตในเกษตรกรรม ได้รวมกลุ่มกันแลกเปลี่ยนข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเท็จจริงและจัดเสวนา “สนทนาพาราควอต” ขึ้น ได้ข้อสรุป “พาราควอต” เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรรมไทย ไม่ควรเลิกใช้ หากใช้ถูกต้อง ก็ไม่เกิดโทษเช่นเดียวกับสารพิษที่แพทย์นำไปบำบัดโรคและรักษาผู้ป่วย

กองทัพเกษตรกร บุกพบคณะกรรมการวัตถุอันตราย

สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย เครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง และกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ผลไม้ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย กว่า 100 ราย ยื่นหนังสือขอบคุณ นายพสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ประธานคณะกรรมการวัตถุอันตราย หลังจากมีมติ ไม่แบนการใช้ 3 สารเคมี พาราควอต คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซต แต่ให้จำกัดการใช้แทน

กลุ่มเกษตรกร 100ราย แห่พบผู้ตรวจการแผ่นดิน วอนพิจารณาอย่างเป็นธรรม

เครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง และกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ผลไม้ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย กว่า 100 ราย ยื่นหนังสือถึง พล.อ.วิทวัส รชตะนันทน์ ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน ขอให้พิจารณาอย่างเป็นธรรม ในการอนุมัติให้ใช้สารพาราควอต ย้ำ สารเคมีไม่ผิด หากใช้อย่างเหมาะสม 

เกษตรกรทั่วประเทศ ลุกฮือ! ร้องเรียนกรมวิชาการเกษตร ไร้ทิศทาง พึ่งพาไม่ได้

สมาพันธ์เกษตรปลอดภัย เครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง และกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ผลไม้ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย กว่า 100 ราย ยื่นหนังสือถึง ดร.เสริมสุข สลักเพ็ชร์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กรณีดำเนินการล่าช้า ร่างประกาศฯ จำกัดการใช้สารเคมี และอ้างมีสารชีวภัณฑ์ใช้ทดแทน แต่ความจริงไม่มี 

สรุปผลรับฟังความคิดเห็น 3 สารเคมี เกษตรกรเตรียมยื่นข้อมูลต่อ กก. วัตถุอันตรายพิจารณาใหม่

กรมวิชาการเกษตร จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นร่างประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกี่ยวกับสารเคมี 3 ชนิด พาราควอต คลอร์ไพรีฟอส และไกลโฟเซต กลุ่มเกษตรกรตรวจสอบข้อมูลพบหลักฐานสำคัญ เตรียมยื่นข้อมูลเสนอคณะกรรมการวัตถุอันตราย เพื่อพิจารณาตัดสินใหม่ให้สามารถใช้สารเคมีดังกล่าวได้ต่อไป

ซินเจนทา ขอบคุณ เกษตรกรไทย วีรบุรุษตัวจริงของ วันอาหารโลก

ซินเจนทา ขอบคุณ เกษตรกรไทยทุกคน ผู้ผลิตอาหารเลี้ยงคนทั้งโลก พร้อมเคียงข้างเกษตรกรไทย นำนวัตกรรม เทคโนโลยี มาช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน จัดการฟาร์ม เพื่อให้เกษตรกรผลิตอาหารได้อย่างยั่งยืน

รมต. ไฟเขียว โครงการราชบุรีโมเดล ต้นแบบเกษตร GAP ใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย สนับสนุนวันอาหารโลก

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มอบหมาย กรมวิชาการเกษตร เริ่มโครงการราชบุรีประชารัฐ ประสานงานร่วมกับเครือข่ายอาสาคนรักแม่กลอง และกลุ่มเกษตรกรราชบุรี พร้อมตั้งคณะทำงานร่วมทุกภาคส่วน เพื่อสร้างต้นแบบเกษตรกรรมคุณภาพมาตรฐาน GAP ใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ให้ความสำคัญกับเกษตรกร ผู้ผลิตอาหาร เพื่อประชากรโลก ตามแนวคิดขององค์การสหประชาชาติ ต้อนรับ วันอาหารโลก

ซินเจนทา เปิด “ศูนย์เรียนรู้ สร้างความปลอดภัย”

ซินเจนทา ร่วมมือกับกลุ่มร้านค้าทั่วประเทศไทย เปิด “ศูนย์เรียนรู้ สร้างความปลอดภัย” ชูหลัก 5 ช. ตั้งเป้าสร้างความเข้ารู้ ความเข้าใจแก่เกษตรกรใช้ปัจจัยการเพาะปลูกอย่างถูกต้อง 

1 6 7 8 12
Message us